น้ำมันพืชสามารถเติมแทนน้ำมันเชื้อเพลิงได้จริง แต่เหมาะสำหรับเครื่องดีเซลกระบะรุ่นเก่า น้ำมันพืชสามารถใช้เติมรถยนต์ได้จริงๆ แต่จะติดเครื่องยากกว่าเติมน้ำมันดีเซล และถ้าใช้ไปนาน ๆ จะทำให้เครื่องยนต์อุตตัน หากต้องการใช้น้ำมันพืชกับเครื่องยนต์ดีเซล ขอแนะนำให้ใช้ ไบโอดีเซลที่ผ่านกระบวนการ แยกยางเหนียวในน้ำมันออกมาแล้วจะคุ้มค่ากว่า โดยเฉพาะสำหรับ เครื่องยนต์ทางการเกษตร
หลายคนเชื่อว่าการเติมน้ำมันพืชจะช่วยทำให้รถประหยัดน้ำมันขึ้น อันนี้ขึ้นกับสภาพการจราจรและวิธีการขับรถของแต่ละบุคคล ซึ่งอาจจะมีผลทำให้อัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงเปลี่ยนแปลงได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนเชื้อเพลิงก็ได้ ในความเป็นจริงแล้วเครื่องยนต์ดีเซลถูกออกแบบมาให้อยู่กับน้ำมัน หากใช้น้ำมันพืชโดยไม่มีความรู้อาจจะเกิดอันตรายได้ ทางที่ดีให้เลือกใช้รถที่เติมน้ำมันจะดีที่สุด
น้ำมันพืชที่เราใช้ประกอบอาหารนั้น ก็คือ น้ำมันไบโอดีเซล B100 ซึ่งมีความสะอาดทำให้สามารถนำมาทำอาหารได้ แต่ถ้าจะนำมาเติมแทนน้ำมันเครื่องต้องใช้กับ เครื่องยนต์ดีเซลรอบต่ำเท่านั้น หากนำใช้กับเครื่องรถยนต์ควรผสมเพื่อเป็นหัวเชื้อจะดีกว่า เนื่องจากการจุดระเบิดในห้องเครื่องแรงกว่าน้ำมันดีเซลจากปิโตรเลียมนั่นเอง
ทุกวันนี้น้ำมันดีเซลที่จำหน่ายตามปั๊น ส่วนใหญ่จะมีการผสม ไบโอดีเซลประมาณ 5% จึงเชื่อได้ว่าสามารถเติมน้ำมันพืชผสมกับน้ำมันดีเซลจากปิโตรเลียมได้จริง “เพราะเครื่องยนต์ดีเซลทุกรุ่นสามารถเติมน้ำมัน B100 โดยไม่ต้องดัดแปลง” แต่สำหรับใครที่อยากลองทดสอบดู แนะนำให้ใช้น้ำมันพืชแบบที่ไม่มีไข เพราะไขอาจไปอุดตันระบบจ่ายน้ำมัน–หัวฉีดได้
กระบะรุ่นใหม่จะมีเครื่องยนต์หัวฉีดแบบละเอียด และระบบการตรวจจับสิ่งแปลกปลอมในน้ำมัน ข้อควรระวังคือ วิธีการเติมน้ำมันพืชผสมกับน้ำมันดีเซลจึงทำได้กับ รถกระบะดีรุ่นเก่า เท่านั้น ไม่แนะนำให้ทำกับ รถรุ่นใหม่ เท่าไหร่
1. ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน: สามารถดาวน์โหลด แอปพลิเคชัน 24Carfix ได้ทั้งในระบบ iOS และ Android
2. ลงทะเบียนและเข้าสู่ระบบ: ลงทะเบียนและเข้าสู่ระบบเพื่อใช้บริการ
3. เรียกช่างซ่อมรถ: เลือกบริการื่ต้องการและระบุปัญหาที่พบเจอ จากนั้นกดเรียกช่าง
4. รอช่างมาถึงที่: ช่างจะมาถึงที่ภายในเวลาอันรวดเร็ว และดำเนินการตรวจสอบและแก้ไขปัญหาให้ท่านทันที
ติดตามอัปเดตข่าวสาร 24 Carfix ซ่อมรถถึงที่ 24 ชม.
#ช่วงล่าง#เครื่องยนต์#รถเสีย#อู่รถยนต์ใกล้ฉัน#ช่วงล่างรถยนต์#เปลี่ยนหัวเทียน#ท่อน้ำมันรั่ว#น้ำมันไม่ขึ้น#หม้อน้ำ#เปลี่ยนหัวฉีด#ซ่อมระบบไฟ#ซ่อมรถนอกสถานที่#คลัชหมด#คลัชลื่น#คลัทช์จม#หม้อน้ำรั่ว#สายพานขาด#ช่างซ่อมรถที่บ้าน#ช่างซ่อมรถข้างทาง#เบรครั่ว#เบรคติด#ท่อไอเสีย